ในตารายาแผนโบราณกล่าวว่า ให้ใช้เปลือกมังคุดต้มเอาน้าฝาดหรือฝนกับน้าปูนใส เอาน้าฝาดที่ได้ชะล้างบาดแผล แสดงว่าในเปลือกมังคุดน่าจะมีสารที่มีฤทธิ์ในการต่อต้านจุลินทรีย์พวกแบคทีเรียซึ่งเป็นต้นเหตุสาคัญของบาดแผลเรื้อรัง
วิธีทำ
ใช้เปลือกมังคุดหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ นำไปตากแดดให้แห้งแล้วบดให้ละเอียด จากนั้นนำมาผสมกับน้ำปูนใส นำสำลีชุบน้ำปูนใสที่ผสมกับเปลือกมังคุดบดมาปิดทับแผลไว้ ทำเช่นนี้วันละครั้งไปเรื่อย ๆ
เคมีงานวิจัยจากโรงพยาบาล โรงพยาบาลค าม่วง จังหวัดกาฬสิน
ธุ์ ผลการวิจัยพบว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นแผลเรื้อรัง จานวน 10 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 60.0 มีอายุส่วนใหญ่ อยู่ระหว่าง 70 – 79 ปี ร้อยละ 40.0 รองลงมา อายุ 50 – 59 ปี ร้อยละ 30.0 มีชนิดของแผลเรื้อรัง เป็นแผลเกิดจากการอักเสบติดเชื้อ ร้อยละ 40.0 รองลงมา เป็นแผลผิวหนังแห้งแตก ร้อยละ 30.0 และแผลที่มีเนื้อเน่าตายจากการติดเชื้อ ร้อยละ 20.0 ส่วนตาแหน่งแผลที่พบส่วนใหญ่ พบที่เท้า ร้อยละ 90.0 หลังจากรักษาผู้ป่วยแผลเรื้อรังโดยทาการล้างแผลด้วยน้าต้มสารสกัดเปลือกมังคุด พบว่า แผลมีแนวโน้มเป็นไปในทางบวกแผลหายทั้งหมด
ขอขอบคุณข้อมูลจาก หมอบ้านบ้าน
วิธีทำ
ใช้เปลือกมังคุดหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ นำไปตากแดดให้แห้งแล้วบดให้ละเอียด จากนั้นนำมาผสมกับน้ำปูนใส นำสำลีชุบน้ำปูนใสที่ผสมกับเปลือกมังคุดบดมาปิดทับแผลไว้ ทำเช่นนี้วันละครั้งไปเรื่อย ๆ
เคมีงานวิจัยจากโรงพยาบาล โรงพยาบาลค าม่วง จังหวัดกาฬสิน
ธุ์ ผลการวิจัยพบว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นแผลเรื้อรัง จานวน 10 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 60.0 มีอายุส่วนใหญ่ อยู่ระหว่าง 70 – 79 ปี ร้อยละ 40.0 รองลงมา อายุ 50 – 59 ปี ร้อยละ 30.0 มีชนิดของแผลเรื้อรัง เป็นแผลเกิดจากการอักเสบติดเชื้อ ร้อยละ 40.0 รองลงมา เป็นแผลผิวหนังแห้งแตก ร้อยละ 30.0 และแผลที่มีเนื้อเน่าตายจากการติดเชื้อ ร้อยละ 20.0 ส่วนตาแหน่งแผลที่พบส่วนใหญ่ พบที่เท้า ร้อยละ 90.0 หลังจากรักษาผู้ป่วยแผลเรื้อรังโดยทาการล้างแผลด้วยน้าต้มสารสกัดเปลือกมังคุด พบว่า แผลมีแนวโน้มเป็นไปในทางบวกแผลหายทั้งหมด
ขอขอบคุณข้อมูลจาก หมอบ้านบ้าน